ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้อง
สิทธิการลาของบุคลากรฯ
Up Skill ระบบบริหารจัดการ การเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร
ระบบบุคลากรออนไลน์ (hr-online)
ระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-office)
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (EIS)
ระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting)
ระบบจองห้องออนไลน์
ระบบจองใช้รถออนไลน์
ระบบ SMS
สภามหาวิทยาลัย มทร.ธัญบุรี
สภาคณาจารย์และข้าราชการ
บล็อกเพื่อการจัดการความรู้ มทร.ธัญบุรี
สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จำกัด
ระบบเบิกค่ารักษาพยาบาลสำหรับพนักงานมหาวิทยาลัย
กองทุนบำเหน็จ บำนาญ
กรมบัญชีกลาง
สำนักงานประกันสังคม
สิทธิการลาของบุคลากรตามปีงบประมาณ
ประเภทการลา | ข้าราชการ | ลูกจ้างประจำ | พนักงานมหาวิทยาลัย | พนักงานราชการ | ลูกจ้างชั่วคราว |
ลาป่วย | 60 วันทำการ | 60 วันทำการ | 60 วันทำการ | 30 วันทำการ | เริ่มปฏิบัติงานปีแรกลาได้ 8 วันทำการ (ปฏิบัติงานครบ 6 เดือน) ปีต่อไปลาได้ 15 วันทำการ |
ลากิจส่วนตัว | 45 วันทำการ | 45 วันทำการ | 45 วันทำการ | 10 วันทำการ | ไม่มีกำหนดเวลาเป็นการลา โดยไม่ได้ค่าจ้าง |
ลาพักผ่อน | 10 วันทำการ (ถ้าปีใดลาไม่ครบ 10 วันทำการให้สะสมวัน ลาที่ยังมิได้ลารวมเข้ากับปีต่อไป แต่ไม่เกิน 20 วันทำการ และข้าราชการที่รับราชการ ไม่น้อยกว่า 10 ปี มีสิทธิสะสมวันลา ได้ไม่เกิน 30 วันทำการ) | 10 วันทำการ (มีสิทธิสะสม) | 10 วันทำการ (ถ้าปีใดลาไม่ครบ 10 วันทำการให้สะสมวันลา ที่ยังมิได้ลารวมเข้ากับปีต่อไป แต่ไม่เกิน 20 วันทำการ และพนักงานมหาวิทยาลัย ที่รับราชการไม่น้อยกว่า 10 ปี มีสิทธิสะสมวันลา ได้ไม่เกิน 30 วันทำการ | 10 วันทำการ (พนักงานราชการผู้ใดที่ทำงานครบ 1 ปีขึ้นไป และในปีที่ผ่านมาพนักงานราชการผู้นั้นมีได้ ลาพักผ่อนประจำปี หรือลาพักผ่อนประจำปีแล้วไม่ ครบ 10 วันทำการ ให้สามารถนำวันลาพักผ่อนที่เหลือซึ่งยังไม่ได้ลามาสะสมได้ แต่วันลาพักผ่อน ที่นำมาสะสมต้องไม่เกิน 5 วันทำการ โดยเมื่อรวม กับวันลาพักผ่อนในปีปัจจุบันแล้วจะต้อง ไม่เกิน 15 วันทำการ) | 10 วันทำการ (เป็นไปตามระเบียบวันลา ข้าราชการโดยอนุโลม) |
ลาคลอดบุตร | 90 วัน ข้าราชการที่ลาคลอดบุตรหากประสงค์จะลากิจ เพื่อเลี้ยงดูบุตรให้มีสิทธิลาต่อเนื่องจากการลาคลอดได้ไม่เกิน 150 วันทำการ (ลากิจจะไม่ได้รับเงินเดือน) | 90 วัน | 90 วัน พนักงานมหาวิทยาลัยที่ลาคลอดบุตรหากประสงค์ จะลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตรให้มีสิทธิลาต่อเนื่อง จากการลาคลอดได้ไม่เกิน 150 วันทำการ (ลากิจจะไม่ได้รับเงินเดือน) | 90 วัน | 90 วัน |
ลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร | 15 วัน/ครั้ง ระยะเวลาที่ขอลา ภายใน 90 วัน นับแต่วันที่ภริยาคลอดบุตร | 15 วัน/ครั้ง ระยะเวลาที่ขอลา ภายใน 90 วัน นับแต่วันที่ภริยาคลอดบุตร |
ลาอุปสมบทหรือลาไปประกอบพิธีฮัจย์ | 120 วัน (รับราชการแล้ว 12 เดือน ) ตาม พรก. การจ่ายเงินเดือนฯ พ.ศ. 2535 | 120 วันทำการ (รับราชการแล้ว 12 เดือน) ตาม พรก. การจ่ายเงินเดือนฯ พ.ศ. 2535 | 120 วันทำการ (รับราชการแล้ว 12 เดือน) ตาม พรก. การจ่ายเงินเดือนฯ พ.ศ. 2535 | 120 วันทำการ (เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ต่อเนื่องมาแล้ว 4 ปี) | ไม่มีกำหนดเวลาเป็นการลา โดยไม่ได้ค่าจ้าง |
ลาเข้ารับการตรวจเลือก/ เข้ารับการเตรียมพล | ระยะเวลาตามที่หมายกำหนด | ระยะเวลาตามที่หมายกำหนด | ระยะเวลาตามที่หมายกำหนด | 60 วันทำการ | 30 วันทำการ |
ลาไปศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัย หรือดูงาน | ระยะเวลาแล้วแต่กรณี | ระยะเวลาแล้วแต่กรณี |
ลาไปปฏิบัติงาน ในองค์การระหว่างประเทศ | ระยะเวลาแล้วแต่กรณี | ระยะเวลาแล้วแต่กรณี |
ลาติดตามคู่สมรส | ลาได้ไม่เกิน 2 ปี ในกรณีจำเป็น อาจอนุญาตให้ลาต่อได้อีก 2 ปี รวมกันแล้วไม่เกิน 4 ปี ถ้าเกิน 4 ปี ให้ลาออกจากราชการ | ลาได้ไม่เกิน 2 ปี ในกรณีจำเป็น อาจอนุญาตให้ลาต่อได้อีก 2 ปี รวมกันแล้วไม่เกิน 4 ปี ถ้าเกิน 4 ปี ให้ลาออกจากราชการ |
ลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพ ด้านอาชีพ | ตามระยะที่กำหนดในหลักสูตร แต่ไม่เกิน 12 เดือน | ตามระยะที่กำหนดในหลักสูตร แต่ไม่เกิน 12 เดือน |