• บุคลากร
  • ศิษย์เก่า
  • ห้องสมุด
  • คณะ / หน่วยงาน
  • การประชาสัมพันธ์
  • บริการสังคม
  • ITA
  • FAQ
  • ติดต่อเรา
  • RMUTT VR Tour
Logo RMUTTLogo RMUTTLogo RMUTTLogo RMUTT
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติความเป็นมา
    • นโยบายและแผนยุทธศาสตร์
    • สัญลักษณ์
    • หอพระพุทธพิริยมงคล
    • โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
    • ทำเนียบผู้บริหาร
      • ทำเนียบผู้บริหารปี 2567 – ปัจจุบัน
      • ทำเนียบผู้บริหารปี 2563 – 2566
    • สภามหาวิทยาลัย
    • สภาคณาจารย์และข้าราชการ
    • ลงนามความร่วมมือ (MOU)
  • เรียนออนไลน์
  • นักศึกษา
  • ศึกษาต่อ
  • วิจัย
  • บริการ
  • Download
  • บริการ E-Mail / Wifi
    • บริการระบบ RMUTT Internet Account
    • ลงทะเบียน/Reset Password E-mail
    • อาจารย์และบุคลากร
    • นักศึกษา
    • โรงเรียนสาธิตนวัตกรรมฯ
  • ITA
    • ITA 2568
    • แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT) ปี 2568
    • แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (EIT) ปี 2568
    • กิจกรรม ITA 2568
    • ITA 2562-2567
✕

มทร.ธัญบุรีวิจัยหมูส้มหนีห่างมะเร็ง

  • Home
  • ข่าวจากสื่อ ข่าวหนังสือพิมพ์
  • มทร.ธัญบุรีวิจัยหมูส้มหนีห่างมะเร็ง
คอลัมน์ สี่แยกข่าวย่อย: ชมผลงานศิลปนิพนธ์
25 กุมภาพันธ์ 2019
วิจัย’หมูส้ม’เสริมข้าวยีสต์แดง ถ่ายทอดชุมชนทำเชิงพาณิชย์
26 กุมภาพันธ์ 2019
Published by วิลาสินี น้อยใหม่ on 25 กุมภาพันธ์ 2019
Categories
  • ข่าวหนังสือพิมพ์
Tags
  • คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
  • มทร.ธัญบุรี
  • สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ
  • หมูส้ม

เดลินิวส์ (กรอบบ่าย) ฉบับวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562
ผศ.ดร.เลอลักษณ์ เสถียรรัตน์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี เปิดเผยว่า การทำหมูส้มแบบดั้งเดิมเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นในการถนอมอาหาร แต่ปัจจุบันมีการใช้ส่วนผสมอื่นเพื่อลดระยะเวลาการหมักหมู รวมถึงปรุงแต่งสีและกลิ่น เช่น สารไนเตรทและไนไตรท์ เพื่อให้ได้สีชมพูหรือสีแดง เมื่อบริโภคบ่อย ก็มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง ดังนั้น ทางคณะจึงได้ศึกษาวิจัยนำข้าวยีสต์แดงมา ใช้เป็นส่วนผสมในหมูส้ม ซึ่งมีจุดเด่น คือ มีสีแดงเข้ม ให้สารโมนาคอลินส์ช่วยลดคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในเลือด ขณะเดียวกันยังมีสารไคโตซานช่วยดักจับไขมันตามระบบทางเดินอาหาร อีกทั้งมีสารไคตินช่วยเสริมสร้างไขข้อและและลดการเสื่อมของไขข้อในผู้สูงอายุ และยังมีสารกาบาซึ่งเป็นสารสื่อประสาท ช่วยรักษาสมดุลในสมอง ช่วยให้สมองผ่อนคลาย รวมถึงมีสารแอนติออก ซิแดนท์ที่ปกป้องเซลล์จากอนุมูลอิสระ
“การวิจัยครั้งนี้ นอกจากช่วยลดความเสี่ยงด้านสุขภาพยังสามารถถ่ายทอดสู่ชุมชนให้สามารถผลิตในเชิงพาณิชย์ได้ ทำให้ได้ รับรางวัลเหรียญเงินจากการประชุมวิชาการและแสดงผลงานวิจัยระดับเวทีนานาชาติ ในงาน IEI & WIIF 2018 เมืองฝอซาน สาธารณรัฐประชาชนจีน และขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการด้านทรัพย์สินทางปัญญา ผู้สนใจสอบถามได้ที่ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ โทร. 08-7518-1144” ผศ.ดร.เลอลักษณ์ กล่าว.

Share
0
วิลาสินี น้อยใหม่
วิลาสินี น้อยใหม่

Related posts

28 พฤษภาคม 2025

เทคโนโลยีล้ำสมัยและโลกที่ก้าวไกลไปกับ “COMTODAY”


Read more
29 เมษายน 2025

“เปิดประตูสู่มิติใหม่กับการใส่ใจมิติสุขภาพ”


Read more
26 มีนาคม 2025

“มรดกไทย” และสิ่งที่เห็นไม่ได้เป็นความ “ธรรมดา”


Read more
11 กุมภาพันธ์ 2025

“Total Sound Magazine” บทเพลงและเสียงนี้ที่มีมากกว่า “ความหมาย”


Read more

Comments are closed.

สร้างและพัฒนาโดย.ฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่เว็บไซต์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Rajamangala University of Technology Thanyaburi
ที่อยู่ : 39 หมู่ที่ 1 ตำบลคลองหก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ติดต่อเรา

สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน :
     Facebook :@oregrmutt
     Website :www.oreg.rmutt.ac.th
     E-mail : oreg@rmutt.ac.th

กองประชาสัมพันธ์ :
     E-mail : rmutt_news@rmutt.ac.th

ฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่เว็บไซต์ :
     Facebook :@WeblogRMUTT

  • มทร.ธัญบุรี หารือร่วมกับสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย และสมาคมผู้ประกอบการปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย เดินหน้าจัดตั้ง “AI Center for SME”25 กรกฎาคม 2025
  • มทร.ธัญบุรี โชว์ศักยภาพ นำผลงานวิจัยและแฟชั่นโชว์ร่วมงาน Pathum Innotech Expo 2025 ยกระดับสินค้าศักยภาพปทุมธานี24 กรกฎาคม 2025
  • ขอเชิญชวน ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำและพนักงานพิเศษเงินรายได้ (สายผู้สอนและสายสนับสนุน) สังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี24 กรกฎาคม 2025
  • “ขอเชิญข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำและพนักงานพิเศษเงินรายได้ (สายผู้สอนและสายสนับสนุน) สังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี24 กรกฎาคม 2025

แผนที่การเดินทางมา มหาวิทยาลัยฯ

Copyright © 2022 Rajamangala University of Technology Thanyaburi
  • บุคลากร
  • ศิษย์เก่า
  • ห้องสมุด
  • คณะ / หน่วยงาน
  • การประชาสัมพันธ์
  • บริการสังคม
  • ITA
  • FAQ
  • ติดต่อเรา
  • RMUTT VR Tour