• บุคลากร
  • ศิษย์เก่า
  • ห้องสมุด
  • คณะ / หน่วยงาน
  • การประชาสัมพันธ์
  • บริการสังคม
  • ITA
  • FAQ
  • ติดต่อเรา
  • RMUTT VR Tour
Logo RMUTTLogo RMUTTLogo RMUTTLogo RMUTT
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ประวัติความเป็นมา
    • นโยบายและแผนยุทธศาสตร์
    • สัญลักษณ์
    • หอพระพุทธพิริยมงคล
    • โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
    • ทำเนียบผู้บริหาร
      • ทำเนียบผู้บริหารปี 2567 – ปัจจุบัน
      • ทำเนียบผู้บริหารปี 2563 – 2566
    • สภามหาวิทยาลัย
    • สภาคณาจารย์และข้าราชการ
    • ลงนามความร่วมมือ (MOU)
  • เรียนออนไลน์
  • นักศึกษา
  • ศึกษาต่อ
  • วิจัย
  • บริการ
  • Download
  • บริการ E-Mail / Wifi
    • บริการระบบ RMUTT Internet Account
    • ลงทะเบียน/Reset Password E-mail
    • อาจารย์และบุคลากร
    • นักศึกษา
    • โรงเรียนสาธิตนวัตกรรมฯ
  • ITA
    • ITA 2568
    • แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT) ปี 2568
    • แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (EIT) ปี 2568
    • กิจกรรม ITA 2568
    • ITA 2562-2567
✕

เส้นใยชีวภาพสู่สิ่งทอ

  • Home
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • เส้นใยชีวภาพสู่สิ่งทอ
คอลัมน์ ช่องทางทำกิน: ‘กระเป๋าผ้าขาวม้า’ ทำมือไอเดียดีมีรายได้
29 กรกฎาคม 2013
คอลัมน์ U station: วิทยาศาสตร์เสริมทำผักดองรสชาติอร่อย
29 กรกฎาคม 2013
Published by วิลาสินี น้อยใหม่ on 29 กรกฎาคม 2013
Categories
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ข่าวหนังสือพิมพ์
  • นักศึกษา : งานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์
Tags
  • การวิจัย
  • ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ
  • เส้นใยชีวภาพ
  • โครงการ TEXIO

พลาสติกชีวภาพ นอกจากกระบวนการในการเกิดโรงงานต้นแบบที่กำลังรอผู้ลงทุน อีกฝั่งเรากำลังสร้างความต้องการให้เกิดขึ้นในกลุ่มของผู้ผลิตเส้นใยด้วย จากโครงการ TEXIO กระบวนการผลิตเส้นใยยาว และผลิตภัณฑ์สิ่งทอจากเส้นใยชีวภาพพอลิแลกติกแอซิด ระยะที่ 1

โดยงานวิจัยพัฒนาในบ้านเรา ตอนนี้ พัฒนาไปถึง เราสามารถผลิตเส้นใยยาว ได้แล้ว ซึ่งสามารถนำไปใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอได้ ผลจากการวิจัยพบว่าเส้นใยชีวภาพที่เป็นเส้นใยยาวมีความแข็งแรง มีการหดตัวของเส้นใยดี แต่การใช้เส้นใยก็จะต้องมีความเหมาะสมด้วย หมายความว่ายังมีข้อจำกัดที่ไม่เหมือน เส้นใยธรรมชาติอื่น ๆ ด้วย

งานวิจัยดังกล่าว ทาง สนช.(สำนักนวัตกรรมแห่งชาติ) ได้ร่วมมือ กับสถาบันอุตสาหกรรมสิ่งทอ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ซึ่งได้มีการดำเนินการในการวิจัยพลาสติกชีวภาพมาแล้ว และบริษัทเอกชน ได้แก่ บริษัท นำรุ่งเรยอน จำกัด บริษัท

เอเซียไฟเบอร์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท สยามเส้นใยประดิษฐ์

การทอ จำกัด ได้นำมาต่อยอดองค์ความรู้ในขณะนี้

การศึกษาล่าสุดคือการสรรหาผลิตภัณฑ์ที่จะนำมาใช้ได้ ซึ่งมี 3 แนวทาง แนวทางแรก คือการพัฒนาเสื้อผ้าที่มีราคาแพงไป ขึ้นอยู่กับการดีไซน์ผลิตภัณฑ์ แนวทางที่สอง คือการนำไปผสมกับ เส้นใยที่มีราคาแพง เช่น เส้นไหมให้ราคาถูกลง ซึ่งขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ ปัจจุบันเส้นใยยังทนความร้อนสูงมากไม่ได้ และสุดท้าย คือหาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของเส้นใย

อย่างไรก็ดี การนำเอาเส้นใยจากพลาสติกชีวภาพมาใช้ของ ผู้ประกอบการ ผู้ผลิต จะเป็นอีกช่องทางหนึ่งของการสร้างความแตกต่างของอุตสาหกรรมการทอ ซึ่งทั่วโลก โดยเฉพาะบริษัทขนาดใหญ่ กำลังตอบรับกระแสของผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมอย่างมากในขณะนี้

Share
0
วิลาสินี น้อยใหม่
วิลาสินี น้อยใหม่

Related posts

25 กรกฎาคม 2025

มทร.ธัญบุรี หารือร่วมกับสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย และสมาคมผู้ประกอบการปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย เดินหน้าจัดตั้ง “AI Center for SME”


Read more
24 กรกฎาคม 2025

ขอเชิญชวน ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำและพนักงานพิเศษเงินรายได้ (สายผู้สอนและสายสนับสนุน) สังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี


Read more
24 กรกฎาคม 2025

“ขอเชิญข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำและพนักงานพิเศษเงินรายได้ (สายผู้สอนและสายสนับสนุน) สังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี


Read more
23 กรกฎาคม 2025

สถานีวิทยุกระจายเสียง มทร.ธัญบุรี FM 89.5 MHz จัดการประชุมออนไลน์กับ มทร.อีสาน กระชับความร่วมมือด้านการนำเสนอข่าวสารสู่หลากหลายแพลตฟอร์ม


Read more

Comments are closed.

สร้างและพัฒนาโดย.ฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่เว็บไซต์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Rajamangala University of Technology Thanyaburi
ที่อยู่ : 39 หมู่ที่ 1 ตำบลคลองหก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ติดต่อเรา

สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน :
     Facebook :@oregrmutt
     Website :www.oreg.rmutt.ac.th
     E-mail : oreg@rmutt.ac.th

กองประชาสัมพันธ์ :
     E-mail : rmutt_news@rmutt.ac.th

ฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่เว็บไซต์ :
     Facebook :@WeblogRMUTT

  • มทร.ธัญบุรี หารือร่วมกับสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย และสมาคมผู้ประกอบการปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย เดินหน้าจัดตั้ง “AI Center for SME”25 กรกฎาคม 2025
  • มทร.ธัญบุรี โชว์ศักยภาพ นำผลงานวิจัยและแฟชั่นโชว์ร่วมงาน Pathum Innotech Expo 2025 ยกระดับสินค้าศักยภาพปทุมธานี24 กรกฎาคม 2025
  • ขอเชิญชวน ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำและพนักงานพิเศษเงินรายได้ (สายผู้สอนและสายสนับสนุน) สังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี24 กรกฎาคม 2025
  • “ขอเชิญข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำและพนักงานพิเศษเงินรายได้ (สายผู้สอนและสายสนับสนุน) สังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี24 กรกฎาคม 2025

แผนที่การเดินทางมา มหาวิทยาลัยฯ

Copyright © 2022 Rajamangala University of Technology Thanyaburi
  • บุคลากร
  • ศิษย์เก่า
  • ห้องสมุด
  • คณะ / หน่วยงาน
  • การประชาสัมพันธ์
  • บริการสังคม
  • ITA
  • FAQ
  • ติดต่อเรา
  • RMUTT VR Tour